มือตัดต่อภาพหลุดที่เป็นต้นตอของข่าวลือ “วี BTS” กำลังซุ่มเดตกับ “เจนนี่ BLACKPINK” ออกมาสารภาพแล้วว่าภาพดังกล่าวเป็นภาพตัดต่อ ลั่นลบภาพแล้ว..แต่คนดันแชร์ไวเกินไป! เมื่อวานนี้ (22 พฤษภาคม 2022) ในโลกทวิตเตอร์ได้เกิดประเด็นร้อนแรงขึ้น โดยมีต้นเหตุมาจากผู้ใช้งาน Instagram dailyfashion_news ได้โพสต์ภาพบุคคลที่คล้ายหนุ่ม “วี BTS” และสาว “เจนนี่ BLACKPINK” กำลังอยู่ด้วยกันบนรถยนต์ส่วนตัว และทำเหมือนกับว่าทั้งสองคนกำลังมีความสัมพันธ์ลึกซึ้งหรือเดตกันอยู่...
แฟนคลับ “โคนันเมืองไทย” ใจหายแว๊บ! “อัจฉริยะ” เผย “เพจเฟซบุ๊กชมรมช่วยเหลือเหยื่ออาชญากรรม” ที่ปิดวันนี้เป็นเพจปลอม ช่องทางติดตามมีแค่ YouTube และ TikTok เท่านั้น! ในวันนี้ (17 พฤษภาคม 2565) เพจเฟซบุ๊ก “ชมรมช่วยเหลืออาชญากรรม” ได้ออกมาประกาศปิดเพจเวลา 12:00 น. ในวันนี้ ...
ล่าสุด “เดียร์ลอง” ออกมาเผยแล้วว่า เรื่องตัดสินใจย้ายประเทศ เปลี่ยนสัญชาติ-เปลี่ยนชื่อ แค่คิดเฉย ๆ โดยเธอได้โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊ก โดยระบุข้อความว่า… “ตอนนี้กวางมาเที่ยวพักผ่อนในเนเธอร์แลนด์ ยังไม่ได้มีการย้ายประเทศถาวร หรือได้สัญชาติใด ๆ แต่ก็มีความตั้งใจที่จะย้ายมาอยู่ที่นี่ในอนาคต บวกกับมาที่นี่เพราะอยากจะพักผ่อนเป็นหลัก กวางรู้สึกว่าทำงานไม่ได้พักมานานมาก เลยหาโอกาสมาผ่อนคลายจากเรื่องเครียด ๆ ที่ต้องเจอในช่วงนี้ กวางยังเพิ่งเริ่มต้นในเรื่องการย้ายมาที่นี่ ไหนจะทั้งเรื่องภาษา และเรื่องการขอทุนเรียน เพื่อต่อยอดในเรื่องการทำงาน หาที่อยู่ และอื่น...
ก่อนหน้านี้ กระทรวงสาธารณสุขของไทยก็ต้องปวดหัวกับการเชิญชวนให้ผู้สูงอายุ ที่มีอายุมากกว่า 60 ปี ออกมาฉีดวัคซีนโควิด-19 เพื่อสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ในสังคม ล่าสุดต้องปวดหัวอีกรอบกับกระแส “นักเรียนไม่ฉีดไฟเซอร์” หลังจากเด็ก ๆ “อยากฉีดแต่วัคซีนไม่พอ” สู่เทรนด์ “ไม่ยอมฉีดไฟเซอร์” เนื่องจากมีการปั่นข่าวลวงให้ข้อมูลเกี่ยวกับผลข้างเคียงของการฉีดวัคซีนไฟเซอร์ จนกลัวว่าถ้าฉีดแล้วอาจเสียชีวิตได้ และยังนำไปสู่การแฉว่าภาครัฐจัดสรรวัคซีนไม่เพียงพอต่อความต้องการ รวมถึงการสวมสิทธิ์คนอื่นไปฉีดวัคซีน หลายคนอาจงงว่าเรื่องนี้มันเริ่มต้นมีที่มาที่ไปอย่างไร แล้วสรุปว่า “นักเรียนควรฉีดไฟเซอร์” หรือไม่? The Joi เลยรวบรวมข้อมูล แล้วนำมาสรุปย่อให้ฟังสั้น ๆ...
โลกออนไลน์เป็นพื้นที่ที่มีปริมาณข้อมูลข่าวสารหลั่งไหล่ไปมาอย่างรวดเร็ว และจากข้อมูลของเว็บไซต์ตรวจสอบ Fake News ของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม (ดีอีเอส) ล่าสุด ซึ่งรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ Fake News บนโลกออนไลน์ไทยตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 ถึง 30 มิถุนายน 2564 พบว่ามีจำนวนผู้โพสต์ข่าวปลอม 587,039 คน และแชร์ข่าวปลอมมากถึง 20,294,635 คน ในจำนวนนี้มากกว่า 90...